
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์




วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มุ่งสู่ความเป็นเลิศทางวิชาการ โดยเน้นยุทธศาสตร์เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ตาม SDGs 17 ข้อ จากองค์การสหประชาชาติ
"วิทยาลัยฯ ประชุมร่วมกับตลาดหลักทรัพย์ฯ หารือแนวทางการพัฒนารายวิชา ESG101 ที่นำแนวคิดในมิติสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล ที่นำสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน"
คณบดี พร้อมด้วย ผู้บริหาร หัวหน้างานวิชาการ วิทยาลัยฯเข้าพบผู้บริหารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย รศ.(พิเศษ) ดร.กฤษฎา เสกตระกูล ที่ปรึกษาตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย คุณพิมพรรณ ดิศกุล ณ อยุธยา ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมความรู้ด้านความยั่งยืน และทีมงานจากตลาดหลักทรัพย์ฯ เพื่อหารือแนวทางการพัฒนารายวิชา ESG101 ที่นำแนวคิดในมิติสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล ที่นำสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน เพื่อให้เป็นวิชาศึกษาทั่วไปสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในการเรียนรู้ และตระหนักรู้ บริบทของการ พัฒนาในฐานะของการเป็นพลเมืองของโลกที่มีความรับผิดชอบ และนำสู่ความเข้าใจในบทบาทที่ตนเองสามารถมีต่อองค์กร ตลอดจนในทุกภาคส่วนของสังคมและประขาคมโลกต่อไป
วันที่ 14 ธันวาคม 2565 ณ ห้องประชุม 701 อาคาร B
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
ข่าวสารวิทยาลัย
"วิทยาลัยฯ จัดอบรม หลักสูตรการประเมินผลกระทบทางสังคม (SIA) และการประเมินผลตอบแทนทางสังคม (SROI)"
วิทยาลัยฯ จัดอบรม หลักสูตรการประเมินผลกระทบทางสังคม (SIA) และการประเมินผลตอบแทนทางสังคม (SROI)
รับสมัคร : ตั้งแต่วันที่ 13 กุมภาพันธ์ - 17 มีนาคม 2566
อบรม : วันที่ 22-23 มีนาคม 2566
ค่าสมัครอบรมและทดสอบ : 9,900 บาท / คน
สถานที่อบรม : วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
สมัครอบรม : https://forms.gle/QfYD8NCEzvFQhhnR6
รายละเอียดหลักสูตร : https://www.psds.tu.ac.th/short-training
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม :
โทร.080-289-8191 (เพ็ญจันทร์) ,089-684-6569 (ศรีสุข)
e-mail : training@psds.tu.ac.th






ปรัชญา
“สันติประชาธรรม นำสู่การพัฒนาที่เป็นธรรม และยั่งยืน”
วิสัยทัศน์
“สถาบันการศึกษาชั้นนำ ด้านพัฒนศาสตร์ เพื่อความเป็นธรรมแ่ละยั่งยืนของประชาคมโลก”
“Leading academic Institution of development studies for equitable and sustainable global society”

สร้างผู้นำที่มีอุดมคติ
Social change agent
สร้างผู้นำเพื่อการเปลี่ยนแปลง
Creative Thinking
คิดอย่างสร้างสรรค์ คิดเชิงนวัตกรรม
Corporate Social Responsibility
สร้างคนให้มีจิตสำนึกสาธารณะ เสียสละ และรับผิดชอบต่อสังคม
Social Enterprise
สร้างความพร้อมให้นิสิตและบัณฑิต ประกอบอาชีพอิสระ และกิจการเพื่อสังคม
Volunteer Leadership
มุ่งเน้นบัณฑิตสู่การเป็นผู้นำงานอาสาสมัคร
"วิทยาลัยฯ ร่วมกับ กรมโรงงานอุตสาหกรรม เปิดอบรม
หลักสูตรบุคลากรเฉพาะด้านการบริหารความรับผิดชอบต่อสังคม
ระดับทั่วไป รุ่นที่ 1/ 2566"
วิทยาลัยฯ ร่วมกับ กรมโรงงานอุตสาหกรรม เปิดอบรม
หลักสูตรบุคลากรเฉพาะด้านการบริหารความรับผิดชอบต่อสังคม
ระดับทั่วไป รุ่นที่ 1/ 2566
รับสมัคร : ตั้งแต่วันที่ 13 กุมภาพันธ์ - 24 มีนาคม 2566
อบรมและทดสอบ : วันที่ 26-28 เมษายน 2566
ค่าสมัครอบรมและทดสอบ : 6,900 บาท / คน
สถานที่อบรม : วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต
สมัครอบรม : https://forms.gle/GD4EfQbUqjsiqYXT9
รายละเอียดหลักสูตร : https://www.psds.tu.ac.th/short-training
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม :
โทร.080-289-8191 (เพ็ญจันทร์) ,089-684-6569 (ศรีสุข)
e-mail : training@psds.tu.ac.th
เพิ่มเติมเกี่ยวกับวิทยาลัย
Puey Ungphakorn School of Development Studies



ติดต่อเรา
วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต)
เลขที่ 99 หมู่ 18 ตำบลคลองหนึ่ง
คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120
วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
(ศูนย์ประสานงาน) 2 ถนนพระจันทร์ แขวงพระบรมมหาราชวัง,
เขตพระนคร, กรุงเทพฯ 10200
Tel: (+66) 02 564 4440-79 ต่อ 1321
Fax: (+66)
Tel: (+66) 2613-3604
Fax: (+66) 2613-3605
เบอร์โทรติดต่อภายใน (รังสิต 82)
งานธุรการและสารบรรณ 1321
หลักสูตรปริญญาตรี
ฝ่ายกิจการนักศึกษา
หลักสูตรปริญญาตรี SC3 6808
หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต
หลักสูตรปริญญาโท
งานวิจัย
งานบริการวิชาการ
งานประชาสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร
เลขานุการวิทยาลัย 1328
เบอร์โทรติดต่อภายใน (ท่าพระจันทร์ 81)
งานธุรการและสารบรรณ 3604
เลขานุการวิทยาลัย 3609
ห้องนักวิชาการศึกษา หลักสูตร ป.โท 3610
อีเมลงานส่วนกลางของวิทยาลัย
งานประชาสัมพันธ์และสื่อสารองค์กร pr@psds.tu.ac.th
งานบุคคล hr@psds.tu.ac.th
ติดต่อวิทยาลัย contact@psds.tu.ac.th
"ต้องบ่มเพาะนักศึกษาให้เข้าใจสิ่งที่เป็นอยู่ เอาความรู้ที่มีมาบูรณาการ ดังนั้นจะทำงานกับเครือข่ายต่างๆ เช่น เครือข่ายด้านอาสาสมัครในประเทศไทย เครือข่ายวิสาหกิจชุมชน เครือข่ายเชิงพื้นที่ในจังหวัดต่างๆ รวมถึงเครือข่ายระดับนานาชาติ อย่างกว้างขวางขึ้น ต้องการฝันเห็นภาพเครือข่ายเหล่านั้น ให้โอกาสนักศึกษาเข้าไปทำงาน เข้าไปเรียนรู้จากของจริง"
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิธินันท์ วิศเวศวร
คณบดีวิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
